OPS Plan

แผนยุทธศาสตร์

ตัวชี้วัดและเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม

คู่มือการใช้ระบบ

ติดต่อเรา
XML JSON CSV Excel Word
ตัวชี้วัดสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
หน่วยงาน สำนักบริหารกลาง
ปีงบประมาณ 2567
ตัวชี้วัด ร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
รหัสตัวชี้วัด สบก.1
แผนปฏิบัติราชการของ สป.กค. การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการและการประสานงานราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและกระทรวงการคลังตามหลักธรรมาภิบาล
มิติการประเมินผล มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ การบริหารจัดการและการประสานงานราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล
น้ำหนัก (ร้อยละ) 50
คำอธิบาย การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของส่วนราชการ ทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการ ทั้งนี้ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (New GFMIS Thai)
การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของส่วนราชการเทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจำปีไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำปี) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ
งบประมาณโครงการ : ไม่มี
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนนตัวชี้วัด ระดับผลการดำเนินงาน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน
1 80 -ร้อยละ 80 ของการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
2 85 -ร้อยละ 85 ของการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
3 90 -ร้อยละ 90 ของการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
4 95 -ร้อยละ 95 ของการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
5 100 -ร้อยละ 100 ของการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม(ไม่รวมงบกลาง) ทั้งนี้ การใช้จ่ายงบประมาณให้หมายความรวมถึง การก่อหนี้ผูกพัน และการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมถึงเงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้
เงื่อนไข (ถ้ามี) 1. การกำหนดระดับคะแนน 5 เท่ากับ ร้อยละ 100 ซึ่งเป็นค่าเป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 2. ส่วนราชการสามารถตรวจสอบผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมผ่านทางเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง WWW.cgd.go.th หัวข้อ ข้อมูลสถิติ 3. โครงการที่สามารถประหยัดงบประมาณได้ถือเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ให้มีผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 โดยการชี้แจงเพิ่มเติมว่าสามารถประหยัดงบประมาณได้เท่าไร
หน่วยวัด ร้อยละ
เป้าหมายปีปัจจุบัน 100
ข้อมูลพื้นฐานย้อนหลัง 1 ปี (ถ้ามี) 100
ข้อมูลพื้นฐานย้อนหลัง 2 ปี (ถ้ามี) 99.59
ข้อมูลพื้นฐานย้อนหลัง 3 ปี (ถ้ามี) 97.89
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล ใช้ข้อมูลในการติดตามและประเมินผลจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ซึ่งจะใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของส่วนราชการ ทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 ถึง เดือนกันยายน 2567 จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (New GFMIS Thai)
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ผู้อำนวยการส่วนบริหารการคลัง เบอร์ติดต่อ 2100
ผู้สนับสนุน 1. น.ส.นิตยา คันศร นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ 2. น.ส.พภัสสรณ์ วีรวัฒนกุมพะ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ เบอร์ติดต่อ 2108 และ 2159
รายงานผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
ผลการดำเนินงาน 52.81 27.94
รายละเอียดการดำเนินงาน 1. รายจ่ายประจำวงเงินงบประมาณ ปี 2566 ไปพลาง จำนวน 582.95 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน 307.85 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 52.81 2. รายจ่ายลงทุนวงเงินงบประมาณ ปี 2566 ไปพลาง จำนวน 676.08 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน - ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0 3.รวมวงเงินงบประมาณปี 2566 ไปพลางก่อน จำนวน 1,259.03 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน 307.85 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.45 1. รายจ่ายประจำวงเงินงบประมาณ ปี 2566 ไปพลาง จำนวน 582.95 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน 351.79 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 60.35 2. รายจ่ายลงทุนวงเงินงบประมาณ ปี 2566 ไปพลาง จำนวน 676.08 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน - ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0 3.รวมวงเงินงบประมาณปี 2566 ไปพลางก่อน จำนวน 1,259.03 ล้านบาท การใช้จ่าย (PO+เบิกจ่าย+สำรองเงินมีหนี้+เงินเหลือจ่ายของโครงการที่สามารถประหยัดเงินงบประมาณได้) จำนวน 351.79 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.94
คะแนนตัวชี้วัด 1 1
คะแนนถ่วงน้ำหนัก 0.5 0.5
ไฟล์เอกสาร/หลักฐาน 1. รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำ ปี67 ของ สป.กค. ไตรมาส1
ส่วนบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศกระทรวงการคลัง
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง
โทร. 0 2126 5900 ต่อ 3305
จำนวนผู้เข้าชม

3 8 5 4 2